CPR audit 59 

 
      เป็นการศึกษาเพื่อประเมินประสิทธภาพของการช่วยฟื้นคืนชีพ  โดยอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินเป็นผู้ประเมิน ทีมช่วยฟื้นคืนชีพในสถานการณ์จริง ระหว่าง วันที่ 1 เมษายน  2559 ถึงวันที่  30 มิถุนายน 2559




Parameter

จำนวน (ร้อยละ)


1. จำนวนผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น ที่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ
61

2. เพศ

    ชาย 39 (63.9)

    หญิง 22 (36.1)

3. ช่วงอายุ

    0-1 month 1 (1.7)

    1 month-1 year 0

    1-15 years 0

    15 - 60 years 36 (59.0)

    more than 60 years 24 (39.3)

4. ลักษณะการมาโรงพยาบาล

    มาเอง / ญาตินำส่ง 11 (18.0)

    Advanced EMS 22 (36.1)

    Refer 28 (45.9)

5. สถานที่เกิด Cardiac Arrest

    Before arrival 45 (73.8)

    Emergency Department
16 (26.2)

6. ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะเกิด Cardiac Arrest

    Non-shockable 53 (86.9)

    Shockable 8 (13.1)

7. ผลการช่วยฟื้นคืนชีพ

    Admit 35 (57.4)

    เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน 26 (42.6)








  



 

  







ประโยชน์ในการทำ CPR audit


  1. ทราบถึงจำนวนและลักษณะของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลขอนแก่น
  2. เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพและข้อจำกัดของบุคลากรที่อยู่ในทีมช่วยฟื้นคืนชีพ
  3. ผลของการช่วยฟื้นคืนชีพ
  4. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการช่วยฟื้นคืนชีพ




แนวทางการพัฒนาระบบ CPR audit





  1. มีการทำ CPR audit ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นทุกราย
  2. นำข้อเสนอหรือข้อผิดพลาดที่พบจากการทำ CPR audit ไปใช้ในการพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วย














แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลขอนแก่น ชั้น 1 อาคารสิรินธร เลขที่ 54-56 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000